โป๊ะเช๊ะ ดอท คอม

การระวังพยาธิไส้เดือน ที่ชุกชุมในเขตชื้นแฉะและอยู่ในแหล่งน้ำธรรมชาติ

การระวังพยาธิไส้เดือน ที่ชุกชุมในเขตชื้นแฉะและอยู่ในแหล่งน้ำธรรมชาติ

พยาธิ คือสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งที่ต้องอาศัยร่างกายมนุษย์ในการดำรงชีวิต เจ้าสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ นี้ แรกเริ่มอาจไม่ได้ดูรบกวนการใช้ชีวิตของเรามากนัก แต่เมื่อพวกเขาโตเต็มวัย การอยู่อาศัยในร่างกายของมนุษย์ ก็ทำให้เกิดผลเสียต่อร่างกายเราได้ เมื่อไม่นานมานี่ เราได้ข่าวเกี่ยวกับพยาธิไส้เดือนตัวโตยาว 6 นิ้ว เป็นเรื่องที่น่าประหลาดใจ เมื่อเจ้าสิ่งมีชีวิตตัวนี้เข้าไปอยู่ในร่างกายของคนเราได้อย่างไร?

ลักษณะของพยาธิไส้เดือน มีรูปร่างทรงกระบอก หัวและท้ายแหลม ขณะมีชีวิตอยู่จะมีสีขาวนวลหรือชมพูเรื่อๆ เป็นพยาธิตัวกลมที่ใหญ่ที่สุดที่อาศัยอยู่ในลำไส้เล็ก ตัวแก่จะมีขนาดโตขนาดประมาณหลอดกาแฟ ยาวประมาณ 25 เซนติเมตร  พยาธินี้ชอบอาศัยในช่องว่างของลำไส้เล็ก  คอยแย่งอาหารที่ย่อยจากลำไส้เล็กแล้ว

วงจรชีวิตและการติดต่อ เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่แล้วจะผสมพันธุ์กัน ตัวเมียออกไข่ครั้งละประมาณ2แสนฟองต่อวันไข่มีขนาดเล็กมากมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น มีลักษณะเป็นผิวขรุขระคล้ายผลน้อยหน่า ไข่จะปนออกมากับอุจจาระของผู้ป่วย

พยาธิไส้เดือนเข้าสู่ร่างกายได้อย่างไร ?
อาการที่สังเกตได้ เมื่อได้รับพยาธิไส้เดือนเข้าสู่ร่างกาย
          ส่วนใหญ่ไม่มีอาการ แต่อาจเรื่องแสดงอาการ เมื่อติดเชื้อรุนแรงขึ้น ดังนี้..
กรณีติดเชื้อภายในปอด
การติดเชื้อในลำไส้

เมื่อเรามีพยาธิฝักตัว อาศัยอยู่ในร่างกายเป็นเวลานานมากพอที่จะทำให้ร่างกายเชื้อที่มากับพยาธิ จะเกิดอาการดังต่อไปนี้

 

วิธีป้องกัน หรือหลีกเลี่ยงพยาธิไส้เดือน

วงจรชีวิตพยาธิไส้เดือน
ตัวเมียจะวางไข่วันละ 200,000 ฟอง โดยไข่จะปะปนอยู่ในอุจจาระ ไข่ที่ผสมแล้วจะเจริญเป็นตัวอ่อนใน 10 – 21 วัน เมื่อเราได้รับไข่พยาธิเข้าสู่ร่างกายในระยะนี้ตัวอ่อนจะไชทะลุผนังลำไส้ไปตามหลอดเลือดดำที่นำเลือดไปเลี้ยงตับ และหัวใจห้องด้านขวา และเดินทางเข้าสู่ปอด..

ตัวอ่อนจะเจริญเติบโตเป็นตัวโตเต็มวัยที่มีขนาด 2-3 มิลลิเมตร ซึ่งใช้เวลา 10-14 วัน ตัวโตเต็มวัยจะไชผ่านผนังของถุงลม เข้ามาที่หลอดลม เข้าที่คอและถูกกลืนลงไปที่กระเพาะ เชื้อพยาธิจะเป็นตัวแก่ 15-35 เซนติเมตร อยู่ในลำไส้เล็กและมีอายุยาวนานได้ถึง 1-2 ปี.

ขอบคุณhttps://www.paolohospital.com/th-TH/rangsit/Article/Details/%E0..
บทความจาก นายแพทย์ กิตติพงษ์ ทองเนื้องาม  แพทย์อายุรศาสตร์ โรงพยาบาลเปาโล รังสิต
https://www.google.com/..%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%8..
http://blog.bru.ac.th/wp-content/uploads/bp-attachments/24938/%E0%B9%82..

วิธีป้องกันและการควบคุมพยาธิภายในแพะ..